วันพุธที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ระบบปฏิบัติการซิมเบียน

ระบบปฏิบัติการซิมเบียน (Symbian OS)  
     ระบบปฏิบัติการ Symbian คือระบบปฏิบัติการที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อรองรับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย และออกแบบขึ้นมาเพื่อใช้ในงานกับโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นหลัก ในการรับส่งข้อมูล เป็นระบบที่ใช้งานง่าย ประหยัดพลังงาน ใช้หน่วยความจำขนาดเล็ก และมีความปลอดภัยสูง ทำให้เหมาะที่จะนำมาใช้กับโทรศัพท์เคลื่อนที่ 
MobileOS  เนื่องจากเทคโนโลยีขอ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการแบบปาล์ม

         ระบบปฏิบัติการแบบปาล์ม   
            Palm OS เป็นระบบปฏิบัติการที่ถือได้ว่าเกิดขึ้นมาพร้อม ๆ กันกับการนำเอาคอมพิวเตอร์แบบพกพามาใช้ในยุคแรก ๆ เรียกกันว่าเครื่อง Palm ( ผลิตขึ้นโดยบริษัทปาล์ม) ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในเวลาต่อมา เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมาก่อน Windows CE หรือ Pocket PC OS ของไมโครซอฟต์ (เนื่องจากมีการผลิตเครื่องขึ้นมาใช้งานก่อนนั่นเอง) ปัจจุบันอาจพบเห็นการนำเอาระบบนี้ไปใช้กับคอ่านเพิ่มเติม

ระบบปฏิบัติการโซลาริส

          ระบบปฏิบัติการโซลาริส (Solaris)
        โซลาริส (Solaris) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ แบบยูนิกซ์ ที่พัฒนาโดย ซัน ไมโครซิสเต็มส์

รุ่นแรก ๆ ของโซลาริสนั้น ใช้ชื่อว่า ซันโอเอส (SunOS) โดยมีพื้นฐานมาจากยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี. แต่ต่อมาในรุ่นที่ 5 ได้เปลี่ยนมาใช้โค้ดของ ซิสเต็มส์ไฟว์ (System V) แทน และเปลี่ยนชื่อมาเป็น โซลาริส ดังเช่นในปัจจุบัน, โดยเรียกโซลาริอ่านเพิ่มเติม

ระบบปฏฏิบัติการโอเอสทู

  ระบบปฏฏิบัติการโอเอสทู       
          ในปี 1987 บริษัทไอบีเอ็มได้มีการแนะนำเครื่องพีซีที่เรียกว่า PS/2 (Personal System/2) และ PC /AT ที่มีไมโครโปรเซสเซอร์เบอร์ 80286 80386 หรือ 80486 เป็นซีพียูของเครื่องออกมาสู่ตลาดเป็นครั้งแรก พร้อม ๆ กับการประกาศระบบปฏิบัติการตัวใหม่ที่เรียกว่าโอเอสทู (OS/2) ที่มีบริษัทไอบีเอ็มและไมโครซอฟต์เป็นผู้ร่วมกันพัฒนาระบบปฏิบัติการประเภทนี้ออกมาเป็นครั้งแรก โอเอสทูเป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้สำหรับเครื่องไอบีเอ็มและไอบีเอ็มคอมแพททิเบิล เป็นระบบปฏิบัติการที่ไม่ต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของดอสและมีลักษณะเป็น GUI เช่นเดียวกับแมคโอเอสและวินโดวส์ ซึ่ง GUI ของโอเอสทูนี้จะถูกเรียกว่า Wอ่านเพิ่มเติม



ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์

ระบบปฏิบัติการ Windows Server 2003 Enterprise Edition และการปรับแต่งใช้งาน
            ช่วงนี้ Microsoft ได้ทำการเปิดตัวระบบปฏิบัติการออกมาใหม่ คือ Windows Server 2003 โดยเป็นระบบปฏิบัติการ ที่เน้นการทำงานเป็นเครื่อง Server เป็นหลัก และได้มีการเปิดให้ทำการดาวน์โหลด เวอร์ชั่นทดลอง ให้ไปทดลองใช้งานกันได้ฟรี ๆ 180 วัน (จนถึงประมาณกลางปีนี้) ดังนั้น ใครสนใจอยากจะทดลอง ระบบปฏิบัติการตัวนี้ ก็ลองมาดูการดาวน์โหลด และเทคนิค การปรับแต่งต่าง ๆ กันดู
ก่อนอื่น ก็เข้าไปทำการลงทะเบียน เพื่อจะได้ลิงค์สำหรับดาวน์โหลดและ CD-Key ที่จะใช้ในการติดตั้งมาก่อ่านเพิ่มเติม



วันพุธที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

ระบบปฏิบัติการลินุกซ์

           เป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ ดอส ไมโครซอฟต์วินโดวส์ หรือยูนิกซ์ โดยลีนุกซ์นั้นจัดว่าเป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ประเภทหนึ่ง การที่ลีนุกซ์เป็นที่กล่าวขานกันมากขณะนี้ เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU's Not UNIX) และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free Ware) คือไม่เสียค่าใช้จ่ายในการซื้อโปรแกรม

ระบบลีนุกซ์ตั้งแต่เวอร์ชั่น 4 นั้น สามารถทำงานได้บนซีพียูทั้ง 3 ตระกูล คือบนซีพียูของอิลเทล (PC Intel) ดิจิตอลอัลฟาคอมพิวเตอร์ (Digital Alpha Computer) และซันสปาร์ค (SUN SPARC) เนื่องจากใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า RPM (Red Hat Package Management) ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนที่ไมโครซอฟต์ วินโดวส์ บนพีซีหรือแมคโอเอส (Mac OS) ได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนไม่น้อยที่หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กัน และเรื่องของการดูแลระบบลีนุกซ์นั้น ภายในรอ่านเพิ่มเติม

ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช

ระบบปฏิบัติการ MAC
            เป็นระบบ ปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอช เป็นผลิตภัณฑ์แรกที่ประสบความสำเร็จเกี่ยวกับการทำงานแบบ GUI ในปี ค.ศ. 1984 ของบริษัท Apple ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็นระบบปฏิบัติการ Mac OS โดยเวอร์ชันล่าสุดมีชื่อเรียกว่า Mac OS X เหมาะสมกับคอมพิวเตอร์ที่ผลิตโดยบริษัท Apple และมีความสามารถในการทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน (Multitasking) เหมาะกับงานในด้านเดสก์ทอปพับลิชชิ่ง (Desktop Publishing)
           ในปี 2001 ก็ได้ปรากฏ Mac OS X เวอร์ชันเต็มตัวแรก ซึ่งก็คือ Mac OS X 10.0 โดยใช้ชื่อว่า Cheetah โดยในเวอร์ชันแรกนี้ยังไม่ค่อยเป็นที่แพร่หลาอ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์

ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์

               เป็นระบบปฏิบัติการที่เคยพัฒนาในห้องแล็บ Bellสร้างขึ้นเพื่อใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์   และเมนเฟรม   ใช้ในการควบคุมการทำงานของศูนย์คอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมลูกข่ายคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงเป็นจำนวนมาก   ดังนั้นยูนิกซ์    จึงมักใช้ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่    และมีการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกลต่อมาได้มีการพัฒนาให้สามารถนำยูนิกซ์มาใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ คาดว่อ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์

ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์
                  ระบบปฏิบัติการนี้พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ ซึ่งมีส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (user interface)แบบที่เรียกว่า ระบบติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก หรือที่เรียกว่า จียูไอ (Graphical User lnterFace : GUl) คือ มีการเเสดงผลเป็นรูปภาพและใช้สัญลักษณ์ในรูปรายการเลือก (menu)หรือสัญรูป(icon)ในการสั่งงานคิมพิวเตอร์แทนการพิมพ์คำสั่งทีละบรรทัด ทำให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ง่ายขึ้น ทั้งยังมัสันที่ทำให้ซอฟต์แวร์น่าใช้งานมากขึ้น ระบบปฏิบัติการวินโดวส์นี้เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมสูงมากในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่วไป ทั้งนี้นอกจากใช้งานได้ง่ายดังที่กล่าวมาข้างต้นเเล้ว ยังเป็นเพราะหลังจากที่บริษัทไมโครซอฟต์ได้ผลิตระบบปฏิบัติการนี้ออ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการดอส

ระบบปฏิบัติการ DOS (DOS : Disk Operating System)
      เริ่มมีใช้ครั้งแรกบนเครื่อง IBM PC ประมาณปี ค.ศ. 1981 เรียกว่าโปรแกรม PC-DOS ต่อมาบริษัทไมโครซอฟต์ได้สร้าง MS-DOS สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน ตั้งแต่รุ่น Versions 1.0 2.0 3.0 3.30 4.0 5.0 6.0 และ 6.22 ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS อยู่เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าๆ ที่มีทรัพยากรของระบบน้อย
ตัวอย่างหน้าต่างระบบปฏิบัติการ  MS-Dos

      การใช้คำสั่งดอส โดยการพิมพ์คำสั่งที่เครื่องหมายพร้อมรับคำสั่ง ในลักษณะ Command Line ซึ่ง DOS ติดต่อกับผู้ใช้ด้วยการพิมพ์คำสั่ง ไม่มีภาพกราฟิกให้ใช้ เรียกว่าทำงานในโหมดตัวอักษร Text Mode

ข้อเสีย คือ ติดต่อกับผู้ใช้ไม่สะดวก เพราะผู้ใช้ต้องจำ และพิมพ์คำสั่งให้ถูกต้องโปรแกรมจึงจะทำงาน ดังนั้นประมาณปี ค.ศ. 1985 บริษัทไมอ่านเพิ่มเติม


ประเภทของระบบปฏิบัติการ

 ประเภทของระบบปฏิบัติการ                            
             ระบบปฏิบัติการที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบัน  อาจนำเอาไปใช้ได้กับคอมพิวเตอร์หลากหลายชนิด ตั้งแต่เครื่องคอมพิวเตอร์ระดับใหญ่จนถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก อาจแบ่งได้ออกเป็น  3  ชนิด  คือ
         -   ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (stand-alone  OS)  เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว(เจ้าของเครื่องนั้นๆ)  นิยมใช้สำหรรรรรรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทำงานแบบทั่วไป  เช่น  เครื่องคอมพิวเตอร์หรือสำนักงาน  ซึ่งจะถูกติดตั้งรอ่านเพิ่มเติ



รูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งาน

รูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งาน 
            ระบบปฏิบัติการมีรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้งาน 2 แบบ ดังนี้

                1.1) แบบบรรทัดคำสั่ง (command – line interface) เป็นรูปแบบการติดต่อกับผู้ใช้ในยุกต์แรกๆ โดยผู้ใช้ต้องพิมพ์คำสั่งให้ระบบปฏิบัติการทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่สะดวกต่อการใช้งาน การติดต่อกับผู้ใช้แบบบรรทัดคำสั่งจึงได้รับความนิยมลดลง แต่รูปแบบการติดต่อแบบบรรทัดคำสั่งยังมีความจำเป็นกับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากคำสั่งสามารถช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ได้ เช่น การบันทึกไฟล์ข้อมูล กอ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการ

ระบบปฏิบัติการ
              ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรมควบคุมการทำงาน (ควบคุมการRun) ของโปรแกรมประยุกต์  ทำหน้าที่
โต้ตอบและเป็นสื่อกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์และฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ระบบปฏิบัติการ (Operating System :OS) เป็นซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเครื่องและอุปกรณ์  ควบคุมและสั่งการให้ Hardware สามารถทำงานได้   เช่น ทำหน้าที่ในการตรวจเช็คอุปกรณ์  Keyboard ขณะเปิดเครื่อง  ถ้าผู้ใช้ลืมเสียบสาย Keyboard ที่ port ด้านหลังของเครื่อง ขณะที่ซอฟต์แวร์ระบบตรวจสอบแล้วไม่พบอุปกรณ์เชื่อมต่อดังกล่าว จะมีข้อความแจ้งเตือนความผิดพลาด  “Keyboar
อ่านเพิ่มเติม


ซอฟต์แวร์ระบบ

ซอฟต์แวร์ระบบ 
              ซอฟต์แวร์ระบบ คือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อปฏิบัติการกับฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และเพื่อจัดเตรียมและบำรุงรักษาแพลตฟอร์มจากการทำงานของโปรแกรมประยุกต์ 
ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่สุดมีดังนี้
ไบออสของคอมพิวเตอร์และเฟิร์มแวร์ของอุปกรณ์ ซึ่งมีเครื่องมือพื้นฐานสำหรับปฏิบัติการและควบคุมฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อหรือติดตั้งในคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (ตัวอย่างที่เด่น ๆ เช่น ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอสเท็น และลินุกซ์) ซึ่งแบ่งสรรให้ส่วนต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ทำงานร่วมกันโดยรับภาระงานอาทิ การส่งผ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจำกับจานบันทึก หรือการส่งข้อมูลออกทางอุปกรณ์แสดงผล และยังมีแพลตฟอร์มเพื่อทำงานซอฟต์แวร์ระบบระดับสูงและโปรแกรมประยุกต์ด้วย
ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ ซึ่งช่วยวิเคราะห์ ปรับแต่ง ทำให้เหมาะสม และบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์
ในตำราบางเล่ม คำว่า ซอฟต์แวร์ระบบ หมายรวมถึงเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย (เช่น คอมไพเลอร์ ลิงเกอร์ หรือดีบักเกอร์ เป็นต้น) 
โดยทั่วไปมิได้หมายความว่า ผู้ใช้จะต้องซื้อคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานซออ่านเพิ่มเติม


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์
 ความหมายของซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การทำงานของคนทำงานได้ด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ  ซึ่งถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นมีเพียงเฉพาะตัวอุปกรณ์หรือฮาร์ดแวร์อยู่เพียงอย่างเดียวก็ไม่สามารถทำงานได้เป็นได้เพียงวัตถุชิ้นหนึ่งเท่านั้น การที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้นั้น จำเป็นต้องอาศัยซอฟต์แวร์ในการสั่งให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทำงานได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน สำหรับในที่นี่จะกล่าวถึงการแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์ ลักษณะย่อยของซอฟต์แวร์แต่ละประเภท การจำแนกประเภทของซอฟต์แวร์ตามลักษณะการใช้งาน และกอ่านเพิ่มเติม